ยูจีนเซอร์นันได้ท้าทายเดินบนผิวดวงจันทร์

จากปากคำของนักบินอวกาศ

ยูจีน เซอร์นัน ไปเยือนดวงจันทร์ถึงสองครั้งกัลภารกิจอพอลโล10และอพอลโล17โดยภารกิจอพอลโล10เป็นการทดสอบขั้นตอนและระบบสำหรับลงจอดบนดวงจันทร์ก่อนที่จะเกิดภารกิจอพอลโล11ที่มีชื่อเสียงซึ่งจอดลงบนดวงจันทร์ในเดือนกรกฎาคม1969โดยเป็นภารกิจแรกที่มนุษย์ได้เหยียบบนดวงจันทร์

ซึ่งเซอร์นันได้เคยทำการท้าทายด้วยการเดินบนอวกาศ ในภารกิจเจมิไน9โดยเขาได้กล่าวว่า “ฝุ่นบนดวงจันทร์เป็นหนึ่งในปัญหาที่สำคัญสำหรับการสำรวจดวงจันทร์และผมก็คิดว่าเราสามารถแก้ปัญหาทางสรีรวิทยาทางกายภาพ หรือ ในด้านเครื่องจักรกลได้แต่ยกเว้นฝุ่น” เซอร์นันได้ทำการแถลงการณ์ดังกล่าวหลังภารกิจอพอลโล17ของเขา

เนื่องจากเขาได้ทดสอบเดินบนดวงจันทร์มันก็ได้เกิดฝุ่นฟุ้งไปทั่วทุกที่ ที่เขาก้าวเดินจากรูปภาพเราสามารถดูได้จากใบหน้าของ เซอร์นันจะสังเกตเห็นได้ว่าเขาดูเหนื่อยล้าและมีอาการที่พยายามหรี่ดวงตา ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บ่งบอกถึงความเป็นนัยถึงความอ่อนเพลียและเป็นไปได้ว่า เซอร์นัน กำลังมีอาการไข้ละอองฟางอยู่

การเลียบแบบฝุ่นของดวงจันทร์

ในระดับความเป็นพิษจากฝุ่นของพื้นผิวบนดวงจันทร์ทีได้มีต่อมนุษย์และผลกระทบในระยะยาวที่แน่นอน ยังไม่ทรายได้ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์และชุมชน ก็ยังคงได้มีส่วนร่วมกันอย่างต่อเนื่องกับความฝันของการจะตั้งถิ่นฐานของมนุษย์บนดวงจันทร์แต่หลักฐานมันก็ยังมีไม่พอที่มีความเกี่ยวกับผลกระทบด้านสุขภาพในการจะใช่ชีวิตนอกโลก ซึ่งเหล่านักวิทยาศาสตร์จำเป็นจะต้อง

พึ่งพาทฤษฎีข้อมูลบางส่วนในการศึกษาที่มันได้สร้างขึ้นมาและเลียนแบบองค์ประกอบเฉพาะของการสำรวจอวกาศ โดย ลอเรนซ์ยัง นักวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์อวกาศจากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ก็ยังได้เตือนเกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวกับสุขภาพว่า “นอกเหนือจากประสบการณ์จากภารกิจอพอลโลแล้ว

เราก็ยังไม่มีข้อมูลอะไรเลย” และนอกจากนี้เขายังได้เน้นอีกว่า ภารกิจที่ได้ไปยังดวงจันทร์นั้นมันไม่เคยมีการออกแบบด้วยการวิจัยทางชีวการแพทย์เลยและ นอกจากนี้ด้านตัวอย่างของฝุ่นจากดวงจันทร์ที่ติดมากับนักบินอวกาศอพอลโลนั้นก็มีไม่เพียงพอและฝุ่นที่ได้ติดอยู่ในยานเหล่านั้นมันก็ค่อนข้างที่จะไร้ประโยชน์ สำหรับที่จะทำการวิเคราะห์ทางด้านวิทยาศาสตร์หลังจากที่พวกเขาได้ไปสัมผัสกับอาการของโลก

ที่ได้เต็มไปด้วยออกซิเจนที่มีความชื้นแม้สถานีอวกาศนานาชาติได้ให้ข้อมูลเชิงลึกว่ามันจะเป็นอย่างไร หากอาศัยอยู่บนดวงจันทร์แต่ในขณะที่บนสถานี นับว่าแรงโน้มถ่วงเกือบเป็นศูนย์อีกทั้งมันยังโคจรอยู่ภายในสนามแม่เหล็กของโลกที่ช่วยป้องกันรังสีได้ซึ่งแตกต่างจากดวงจันทร์ทั้งในเรื่องของแรงโน้มถ่วงและการได้รับรังสีที่สูงกว่าสำหรับการเลียนแบบฝุ่นของดวงจันทร์ทางทีมจากมหาวิทยาลัยสโตนีบรูคได้ใช้ตัวอย่างที่คล้ายกับพื้นผิวของดวงจันทร์โดยทดสอบผลกระทบต่อเซลล์ในปอดของมนุษย์

 

สนับสนุนโดย  sagame เอเชีย